บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น :: Dhammakaya Foundation & Wat Phra Dhammakaya : World Peace through Inner Peace using Meditation Practice  

 

บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น

บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น

คำบูชาพระโดยพิสดาร

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเรทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.

คำนมัสการ

  • อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบครั้งที่หนึ่ง)
  • สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบครั้งที่สอง)
  • สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบครั้งที่สาม)

ปุพพะภาคะนะมะการะ

กล่าวนำ: หันทะทานิ มะยังตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง, ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (3 ครั้ง)

พุทธานุสสะติ

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

พุทธาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.  

พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.  

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.

  • หมายเหตุ
  • ให้สวดหยุดเป็นตอนๆ ตามสัญลักษณ์ “ , ” หรือ “ . ”
  • พุทธัสสาหัสมิ อ่านว่า พุด – ทัด – สา – หัด – สะ – มิ (ออกเสียง อะ ครึ่งเสียง)
  • ท่านหญิงกล่าคำในวงเล็บ เช่น “ทาสี” (ท่านชายกล่าว “ทาโส”)
  • วัฑเฒยยัง อ่านว่า วัด – ไท – ยัง (เ – ย อ่านว่า ไ – ย ทุกแห่ง)

ธัมมานุสสะติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ

  • หมายเหตุ
  • วิญูหีติ อ่านว่า วิน – ยู – ฮี – ติ

ธัมมาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.

สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง. 

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.

  • หมายเหตุ
  • วัฑเฒยยัง อ่านว่า วัด – ไท – ยัง

สังฆานุสสะติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

  • หมายเหตุ
  • อาหุเนยโย อ่านว่า อา – หุ – ไน – โย

สังฆาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต, โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง. 

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ(วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. 

(นั่งพับเพียบ)

อุททิสสะนะคาถา

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง อุททิสสะนะคาถาโย ภะณามะ เส.

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา, อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา ปิยา มะมัง, สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ, พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา, ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ, สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม, สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง ฯ, อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ, ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง, เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง, นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว, อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วีริยัมหินา, มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วีริเยสุ เม, พุทโธ ทีปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม, นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง, เตโสตตะมานุภาเวนะ, มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ

อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐะ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต, เรามีความแก่เป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้.

พยาธิธัมโมมหิ พยาธิง อะนะตีโต, เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้.

มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต, เรามีความตายเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความตายไปได้.

สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว, เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ด้วยกันหมดทั้งสิ้น.

กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท, เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม.

กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ, มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์.

กัมมะปะฏิสะระโณ, มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย.

ยัง กัมมัง กะริสสามิ, เราทำกรรมใดไว้.

กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา, ดีหรือชั่วก็ตาม.

ตัสสะ ทายาโทภะวิสสามิ, เราจะต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น.

บทความอื่นๆในหมวดนี้